David Malpass ประธาน World Bank หรือธนาคารโลก ออกโรงเตือนว่าตอนนี้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ช่วงอันตรายอีกครั้ง เพราะต้องเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อสูง และการเติบโตต่ำพร้อมๆ กัน และถึงแม้การถดถอยทางเศรษฐกิจจะดีขึ้น แต่พวกเราก็ต้องเผชิญกับภาวะ Stagflation ไปต่ออีกหลายปี (ต่างกันยังไง? เศรษฐกิจชะลอ – Stagflation – ถดถอย – วิกฤต) หากปัญหาการขาดแคลนซัพพลายยังไม่ได้รับการแก้ไข
หลายคนฟังข่าวแล้วอาจรู้สึกสับสนกับ “เศรษฐกิจชะลอ-ถดถอย-วิกฤต” วันนี้ชวนมาเคลียร์ให้ชัดกับ “คำศัพท์ภาวะเศรษฐกิจ” ที่คุณควรรู้…
ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่กว่า 18% ของ GDP โลก หลายคนคงคาดหวังว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจครั้งนี้จีนจะทำให้เศรษฐกิจโลกฟื้นตัว เหมือนตอนวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008 ที่รัฐบาลจีนออกมาตรการช่วยเหลือทางการคลัง 4 ล้านล้านหยวน ($586,000 ล้านดอลลาร์) พร้อมทั้งมาตรการปล่อยกู้เพื่อกระตุ้นการใช้จ่าย ซึ่งคู่ค้าสำคัญอย่าง ออสเตรเลียและบราซิลได้รับอานิสงส์ไปด้วย รวมถึงปี 2016 ที่รัฐบาลจีนก็ใช้นโยบายการคลังในการฟื้นฟูตลาดอสังหาริมทัพย์ในประเทศ
ราคาก๊าซในยุโรปเพิ่มขึ้นราว 17% และอาจเพิ่มความเสี่ยงให้กับประเทศในทวีปยุโรป หลังรัสเซียเตรียมหยุดส่งก๊าซไปยังโปแลนด์และบัลแกเรียในวันนี้ (27 เม.ย.) ตามประกาศที่เคยให้ไว้ก่อนหน้านี้ว่าจะยุติการขนส่งก๊าซไปยังประเทศที่ปฏิเสธการชำระค่าพลังงานด้วยเงินรูเบิล กดดันให้สหภาพยุโรป (EU) ต้องเร่งตัดสินใจว่าจะดำเนินการตามประกาศของรัสเซีย หรือยอมสูญเสียอุปทานพลังงานจำนวนมาก
World Bank หรือธนาคารโลก หั่นคาดการณ์เติบโตของเศรษฐกิจโลกปีนี้ลงเหลือ 3.2% จาก 4.1% โดยเกือบ 1% ของ GDP โลกที่ถูกปรับคาดการณ์ลง มาจาก 2 สาเหตุหลักคือ…
จากสถานการณ์ความตึงเครียด “รัสเซีย-ยูเครน” ที่ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจ วันนี้เราจะพามาทำความรู้จัก 2 ประเทศนี้ ในสนามเศรษฐกิจและสังคม…ที่คุณอาจจะยังไม่เคยรู้มาก่อน