×

Wealth Me Up ให้เงินทำงาน

ทางเลือกเก็บเงินแบบไหน ใช่กับคุณ

จะเริ่ม “เก็บเงิน” ทั้งที ต้องเลือกเก็บให้ถูกที่ มารู้จักทางเลือกเก็บเงินเจ๋งๆ ให้เหมาะกับแต่ละคนกัน…1.มือใหม่หัดเก็บ | เงินฝาก e-saving 2.รู้ตัวว่าเก็บไม่อยู่ | เงินฝากประจำปลอดภาษี 3.เก็บแบบมีห่วง | ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ 4.เก็บเพื่อลดภาษี | กองทุน SSF & RMF 5.เก็บเพื่อผลตอบแทน | กองทุนรวมทั่วไป

4 เทคนิคเก็บเงินให้อยู่หมัด

4 เทคนิคที่ช่วยเก็บเงินให้อยู่หมัด มีอะไรบ้าง มาดูกัน… 1.ออมก่อนใช้เสมอ 2.รวยด้วยเศษเหรียญ 3.พกน้อย ใช้น้อย 4.ฝากประจำไปเลย

1O คำถามที่ต้องตอบก่อนซื้อหุ้น

1O คำถามที่ต้องตอบให้ได้ก่อนตัดสินใจซื้อหุ้น… บริษัททำธุรกิจอะไร? ใครคือผู้นำบริษัท? ความสามารถการทำกำไร? ความได้เปรียบด้านการแข่งขัน? ผลการดำเนินงานเป็นอย่างไร? สถานะทางการเงินเป็นอย่างไร? ผู้บริหารโปร่งใสหรือไม่? ใครคือคู่แข่งสำคัญ? บริษัทมีหนี้สินเท่าไหร่? มูลค่าหุ้นเป็นอย่างไร?

เงินจะหมดเมื่อไหร่ ถ้าไม่ลงทุนหลังเกษียณ

เคยรู้หรือไม่? เงินก้อนที่คุณเก็บไว้ใช้หลังเกษียณจะหมดลงเมื่อไหร่หากทยอยใช้เงินไปเรื่อยๆ ลองมาดูกัน…ใช้เงินก้อน+ไม่ลงทุน = เงินหมดไว | ใช้เงินก้อน+ลงทุน = เงินหมดช้าลง

5 กองทุน SSFX ผลงานเด่น

ใครยังไม่ซื้อกองทุน SSF พิเศษบ้าง หากสนใจคงต้องรีบตัดสินใจกันแล้ว เช็กเลย! 5 กองทุน SSFX ผลงานเด่น 1.KTESGS-SSFX | 2.SCBEQ-SSFX | 3.APS-SME-SSFX | 4.TEG-SSFX | 5.SCBSET-SSFX

สัญญาณเตือนภัย เมื่อใช้เงินเกินตัว

เพราะในชีวิตจริงไม่มีไฟแดงกระพริบบอกเมื่อคุณกำลังใช้เงินเกินตัว งั้นลองมาเช็กกันดูว่าอาการแบบไหนที่คุณเริ่มใช้เงินเกินตัวแล้ว…ระยะที่ 1 | เริ่มขัดสน…ระยะที่ 2 | ต้องทนจ่าย…ระยะที่ 3 | กระหายเงินกู้

"ให้เงินทำงาน" กันก่อนดีกว่า

แทนที่จะนำเงินไปซื้อของที่ต้องการทันที ลองนำเงินก้อนไปลงทุนเพื่อหาดอกผลเพิ่มเติมก่อนแล้วค่อนนำมาใช้จ่ายดูดีไหม รายได้รุ่นที่ 1 > ลงทุน > รายได้รุ่นที่ 2 > ลงทุน > รายได้รุ่นที่ 3 > นำไปใช้จ่าย

"ออมหุ้น" เรื่องที่มือใหม่ควรรู้

ออมหุ้นใครว่ายาก…ลองมาดูเทคนิคการ “ออมหุ้น” แบบง่ายๆ ที่ “มือใหม่ก็ทำได้” กันดีกว่า 1.เลือกเงินที่เก็บออม | ไม่นำเงินเก็บมาออมหุ้นอย่างเดียว 2.เลือกเงินที่ลงทุน | ต้องมีเงินเก็บเผื่อฉุกเฉินก่อนเริ่มออมหุ้น 3.เลือกหุ้นที่ลงทุน | ควรออมหุ้นในหลากหลายอุตสาหกรรม

บริหารเงินด้วยทฤษฎี 6 JARS

6 JARS เป็นแนวคิดของ T Harv Eker นักการเงินระดับโลก โดยให้แบ่งรายได้ต่อเดือนออกเป็น 6 ส่วนแล้วใส่กระปุกดังนี้…1.รายจ่ายในชีวิตประจำวัน | 55% 2.เงินลงทุน | 10% 3.เงินเพื่อการศึกษา | 10% 4.เงินออมระยะยาว | 10% 5.ให้รางวัลตัวเอง | 10% 6.เงินสำหรับแบ่งปัน | 5%

วิธีจัดการ "PVD" เมื่อว่างงาน

มาดู 4 วิธีการจัดการกับ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ(PVD)” สำหรับผู้ว่างงาน…คงเงินไว้กับนายจ้างเก่า | โอนไปที่ใหม่เมื่อได้งาน | โอนไปกองทุน RMF | ขอรับเป็นงวดๆ กรณีใกล้เกษียณ

"3 ปรับ" เพื่อเป้าเกษียณ ช่วงดอกเบี้ยต่ำ

ในสภาวะที่อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่ำทั่วโลกแบบนี้ นี่คือ 3 สิ่งที่ต้องปรับ เพื่อเป้าหมายของการเกษียณของเรา…ปรับลดค่าใช้จ่าย | ปรับพอร์ตการลงทุน | ปรับเปลี่ยนทัศนคติ

อายุน้อย (ฝึกมีเงิน)ร้อยล้าน

การเริ่มต้นวางแผนการเงินเป็นเรื่องสำคัญ ยิ่งเริ่มตอนอายุน้อยเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีโอกาสได้เห็นเงินล้านเร็วขึ้นเท่านั้น งั้นมาลองฝึกวิธีให้มีเงินเก็บกันดีกว่า… ฝึกการออมให้ได้ | บันทึกรับ-จ่ายให้เป็น | เน้นปรับเป้าหมายให้สั้นลง

5 กองทุน Global Healthcare น่าเก็บเข้าพอร์ต

กองทุนกลุ่ม Global Healthcare ถือเป็นดาวเด่นในช่วงวิกฤตนี้ และนี่คือ 5 กองทุนประเภทนี้ที่น่าเก็บเข้าพอร์ต | ทิสโก้ โกลบอล ดิจิตอล เฮลธ์ อิควิตี้ | แอสเซทพลัส อินโนเวทีฟ เฮลธ์แคร์ | เค โกลบอล เฮลธ์แคร์ หุ้นทุน Unhedged | กรุงศรีโกลบอลเฮลธ์แคร์อิควิตี้-ชนิดสะสมมูลค่า | กรุงศรีโกลบอลเฮลธ์แคร์อิควิตี้-ปันผล

amazon anti fatigue mats