×

Wealth Me Up ให้เงินทำงาน

อะไรดี? ประกันชีวิต กับ ตราสารหนี้

มีเงิน | ไม่ชอบเสี่ยง ใครที่เป็นคนกลุ่มนี้คงลำบากใจไม่น้อย เพราะนาทีนี้…จะฝากเงิน ดอกเบี้ยก็ต่ำ | จะซื้อหุ้นกู้ ก็เสี่ยง | จะซื้อกองทุนตราสารหนี้ ก็กำลังจะโดนเก็บภาษีอีก | จะฝากสหกรณ์ ก็ให้เฉพาะสมาชิก ทำให้คนมีเงินจำนวนไม่น้อยหันมามอง “ประกันชีวิต” แต่ก็ยังสงสัยว่าถ้าเปรียบเทียบระหว่างประกันชีวิต กับ ตราสารหนี้ มีข้อดีข้อเสียต่างกันอย่างไร?

5 กองทุนที่ต้องมี! ถ้าไม่อยากพลาด “เทรนด์โลก”

โลกการลงทุนที่หมุนอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำให้การเดินทางของข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเกิดขึ้นพร้อมกันทั่วโลก และนี่คือ 5 ประเภทกองทุนรวม ที่เกาะเทรนด์การลงทุนของโลกที่สำคัญ

1O อันดับค่าตอบแทนผู้บริหารสำคัญ บลจ.

หากพูดถึงความรับผิดชอบของสายงานอาชีพ บลจ. ถือได้ว่าอยู่ในระดับสูง เพราะต้องดูแลเงินลงทุนของลูกค้า (ผู้ลงทุน) งานอันหนักอึ้งทำให้มีคำถามตามมาว่ารายได้ เช่น “เงินเดือน” “โบนัส” สูงมากน้อยแค่ไหน?

คนไทย…หนี้เร็ว | หนี้เยอะ | หนี้นาน

“นิด้าโพล” ร่วมกับ “เครดิตบูโร” เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “พฤติกรรมการออมและภาวะหนี้สินของประชาชนในช่วงครึ่งปีแรก 2560” สรุปการวิเคราะห์พฤติกรรมการเป็นหนี้ของคนไทยได้ 3 แบบ คือ “เป็นหนี้เร็ว | เป็นหนี้เยอะ | เป็นหนี้นาน”

4 ปัญหาการเงินที่ยังเหมือนกับเมื่อ 5O ปีก่อน (และวิธีเอาชนะมัน!)

ปฎิเสธไม่ได้ว่าโลกในวันนี้กับ 50 ปีที่แล้วแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เพราะยุคนั้นไม่มี Facebook | Smart Phone | รถยนต์ไร้คนขับ | หุ่นยนต์ทำงานแทนมนุษย์ | ปัญญาประดิษฐ์ (AI) | สกุลเงินดิจิตอล ฯลฯ …แต่เชื่อหรือไม่ว่าแม้ผ่านไปถึง 50 ปี ยังมีบางสิ่งที่ยังคงเหมือนเดิม นั่นคือ “ปัญหาการเงินส่วนบุคคล 4 ข้อ”

ซื้อ RMF “เรื่องภาษี” มีแต่ได้!

ถ้าถามว่าสิทธิประโยชน์ทางภาษีระหว่าง RMF LTF และประกันชีวิตแล้ว ผลิตภัณฑ์ไหนดีสุด? คนส่วนใหญ่จะตอบว่า 1. LTF 2. ประกันชีวิต 3. RMF ดูเผินๆ ระยะเวลาการลงทุน อาจเป็นเหตุผลในการพิจารณาที่ดี แต่ต้องไม่ลืมด้วยว่า ทั้ง 3 อย่างล้วนเป็นการออมที่มี “เงื่อนไข” จึงควรพิจารณา “บทลงโทษกรณีที่ผิดเงื่อนไข” ด้วย

5 สุดยอดนักลงทุนสถาบัน ผลงานเด่นในหุ้นไทย

“เดินตามผู้ใหญ่ หมาไม่กัด” สุภาษิตไทยโบราณ ที่สอนให้เรารู้ว่า “การปฏิบัติตามผู้ใหญ่หรือผู้มีประสบการณ์สูงย่อมปลอดภัย” เช่นเดียวกับนักลงทุนที่สนใจลงทุนในตลาดหุ้น แต่อาจมีประสบการณ์ไม่มาก หรือกลัวว่าาลงทุนไปแล้วจะขาดทุนมากกว่าได้กำไร ทางออกที่น่าสนใจอีกทางนั่นคือจัดพอร์ตหุ้นตามนักลงทุน สถาบัน พูดง่ายๆ ก็คือ “ลอกหุ้น”

คนรวย vs. คนจน...ใช้ชีวิตต่างกันยังไง?

Thomas Corley ผู้เขียนหนังสือ “Rich Habits: The Daily Success Habits Of Wealthy Individuals” สรุปเรื่องนี้สั้นๆ ว่าพฤติกรรมของบุคคลผู้ประสบความสำเร็จทางการเงินเหล่านี้ก็เหมือนกับเกล็ดหิมะ ค่อยๆ สะสมความทีละเล็กละน้อยจนกลายเป็นภูเขาหิมะลูกใหญ่ เขาใช้เวลา 5 ปีในการศึกษาชีวิตของบรรดา “คนรวย” และ “คนจน” และนี่คือความแตกต่างที่น่าสนใจของคน 2 กลุ่มนี้

ใครคือ ผู้จัดการกองทุน?

ช่วง 5 ปีที่ผ่านมานี้อุตสาหกรรมกองทุนรวมในบ้านเราเติบโตมาสูงกว่า 100% จากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิประมาณ 2.3 ล้านล้านบาท ณ เดือน พ.ค. 2555 มาเป็น 4.8 ล้านล้านบาท ณ เดือน พ.ค. 2560 แต่ก็ยังมีข้อมูลอีกส่วนหนึ่งที่สำคัญมากต่อการลงทุนซึ่งอาจจะยังไม่เป็นที่เปิดเผยมากนักจากทางฝั่งของ บลจ. นั้นก็คือ “การเปิดตัวผู้จัดการกองทุน”

หลักกระจายการลงทุนใน “กองทุนรวม”

หากพูดถึงการจัดพอร์ต “กองทุนรวม” นักลงทุนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงการซื้อกองทุนหลายๆ กอง หรือกระจายการลงทุนไปหลายๆ บลจ. แต่ความจริงแล้วการทำแบบนั้นนอกจากจะไม่กระจายแล้ว อาจจะเป็นการกระจุกตัวด้วยซ้ำ! มีคำถามตามมาว่า นักลงทุน “ควรลงทุนกองทุนรวมกี่กอง” ถึงจะพอเหมาะพอควร

“รอด” ก่อน “รวย”

ใครอยากรวยบ้าง? เจอคำถามแบบนี้คงยกมือกันทุกคน! แต่ก่อนที่จะไปถึงคำว่า “ร่ำรวย” สิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามก็คือเราต้องผ่านคำว่า “รอด” ให้ได้ก่อน เพราะถ้ารอดได้ก็มีโอกาสสูงที่จะร่ำรวย โดยวิธีวัดว่าตนเองอยู่รอดปลอดภัยในด้านการเงิน เรียกว่า อัตราความอยู่รอด (Survival Ratio)

ได้เวลาซื้อ “ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล”

ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตจาก “อุบัติเหตุบนท้องถนน” 36.2 คนต่อประชากร 100,000 คน (องค์การอนามัยโลก) หากนับเฉพาะช่วงเทศกาลสงกรานต์ 7 วันอันตราย (11-17 เมษายน 2560) พบว่ามีอุบัติเหตุบนท้องถนนรวม 3,690 ครั้งเสียชีวิต 390 ราย ในจำนวนผู้เสียชีวิตมีผู้ทำประกันเพียง 83 ราย

ค่าขาดประโยชน์ จากการใช้รถระหว่างซ่อม!

ใครเคยถูกรถชน หรือรถตัวเองไปชนคนอื่น คงมีความรู้สึกไม่ต่างกันว่า…แย่ โชคไม่ดี ไม่ยุติธรรม ดวงตก บลา บลา บลา หนักกว่านั้นหลายคนบ่นว่า ตอนรถเอาไปซ่อม ไม่มีรถใช้ ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ต้องออกเองอีก!! อ๊ะๆ อันนี้เข้าใจผิดแล้ว! เพราะความเป็นจริงคือ เราสามารถ “เรียกค่าใช้จ่าย” จากการที่ไม่มีรถใช้ระหว่างซ่อม จากบริษัทประกันฝั่งคู่กรณีได้ หรือที่เรียกกันว่า “ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถระหว่างซ่อม”

amazon anti fatigue mats